แนวคิดของหลักการนี้ มาจากสมมติฐานว่า
เมื่อกล้องรับภาพจะเกิดการโปรเจคภาพแบบ Perspective ด้วยเลนส์ของกล้องให้เป็นพิกัด (X,Y)
หากเราสามารถสร้างแสงฉายกลับไปยังพิกัด (X,Y) นั้นจะเกิดภาพกลับไปที่วัตถุ
จึงสร้างออกมาเป็นแบบจำลองทางเลขาคณิตได้ดังนี้
แบบจำลองนี้กล้องและโปรเจคเตอร์อยู่ที่จุดเดียวกัน มองไปที่ตำแหน่งของวัตถุเดียวกัน
ถ้าภาพปรากฏที่ (X,Y) แล้ว เราสามารถสร้างภาพที่ตำแหน่ง (X,Y) เพื่อฉายกลับไปที่วัตถุได้
แต่โมเดลนี้ไม่สามารถเกิดขึ้นจริงได้เนื่องจาก กล้องและโปรเจคเตอร์ไม่สามารถอยู๋ในตำแหน่งเดียวกันได้
มุม Fovy ของกล้องและโปรเจคเตอร์ไม่เท่ากัน กล้องและโปรเจคเตอร์มี Distroion
จริงนำมาสู่โมเดลที่สามารถนำไปใช้ได้จริง และค่า Error ที่เกิดขึ้น
ว่าสามารถยอมรับได้หรือไม่ในโมเดลกล้องและโปรเจคเตอร์มีการเลื่อนใน 1 แกนที่ไม่ใช่แกน Z เท่านั้น
เมื่อวัตถุทั้งชิ้นอยู่ในลักษณะขนานกับแกน Z หรือบิดเบือนไม่มาก จะเกิด Error ไม่เกิน 1%
แต่หากมีความแปรปรวนในแกน Z มากจะมี Error สูงขึ้น
จากภาพจะเกิด Error สูงถึง 7% ซึ่งในความเป็นจริงแล้วการวางวัตถุในลักษณะดังกล่าวเอง
เป็นลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับฉายด้วยโปรเจคเตอร์อยู่แล้ว
เพราะจุดบนโปรเจคเตอร์ที่สามารถฉายไปบนวัตถุมีจำนวนน้อย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น