30 พฤศจิกายน 2553

โปรเจ็คการประยุกต์ใช้ HCI ในชีวิตประจำวัน

http://www.oasis-project.eu/

29 พฤศจิกายน 2553

Pan-Tilt พัง

ไม่มีอะไรบรรยาย

ติดตั้งฐานตั้งตัวใหม่บน Pan-Tilt

 

การออกแบบ

1. ขนาดพอดีกับ Pan-Tilt

2. ยึดติดด้วยน็อต

ฐานตั้งใหม่ สำหรับวีโมตและโปรเจคเตอร์

การออกแบบ

1. เป็นแบบสไลด์สามารถเลื่อนออกได้ง่าย

2. ฐานตั้งรับน้ำหนักบริเวณจุดศูนย์กลางมวล เพื่อให้รับน้ำหนักขณะที่มีการหมุนได้ดี

3. สรัางด้วยพลาสติกอะคลิลิกใสที่มีน้ำหนักเบา

วิธีคำนวณ ความจุของฮาร์ดดิกส์ที่คอมพิวเตอร์รู้จัก

สำหรับเหตุการณ์ที่ ใครหลายคนที่ช่างสังเกตุ

ก็คงจะประสบกันมาบ้าง ผมจะมาบอกวิธีว่าความจุในคอมพิวเตอร์คิดกันอย่างไรครับ

อ้างอิงจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Binary_prefix

ดูตาราง Prefixes for bit and byte multiples ประกอบไปนะครับ

Untitled

หน่วยที่เราใช้เวลาซื้อ HDD คือ หน่วย SI

เช่น HDD ขนาด 1 kB จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 1000 B

        แต่ถ้าหากเราเทียบเป็นหน่วน IEC แล้ว จะมีขนาดไม่ถึง 1 KiB

        เนื่องจาก 1 KiB มีจำนวนขนาดถึง 1024 B

ซึ่งถ้าจะแปลงหน่วยกันก็คือ เอาจำนวนไบต์/Value ของหน่วยที่เราต้องการ

        ในตัวอย่างนี้ก็จะเป็น 1000/1024 = 0.9765625 KiB

กรณีศึกษา ถ้าเราซื้อ HDD ขนาด 750 GB จะมีขนาดเท่าไหร่ในหน่วย GiB

        HDD ขนาด 750 GB จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 750 x 1000^3 B

        เทียบเป็นหน่วย IEC แล้วจะมีขนาดไม่ถึง 750 GiB

        ในตัวอย่างนี้ก็จะเป็น 750 x 1000^3 / 1024^3 = 698.491931

วิธีเขียน PThread

POSIX Threads Programming

Blaise Barney, Lawrence Livermore National Laboratory UCRL-MI-133316

Table of Contents

  1. Abstract
  2. Pthreads Overview
    1. What is a Thread?
    2. What are Pthreads?
    3. Why Pthreads?
    4. Designing Threaded Programs
  3. The Pthreads API
  4. Compiling Threaded Programs
  5. Thread Management
    1. Creating and Terminating Threads
    2. Passing Arguments to Threads
    3. Joining and Detaching Threads
    4. Stack Management
    5. Miscellaneous Routines
  6. Mutex Variables
    1. Mutex Variables Overview
    2. Creating and Destroying Mutexes
    3. Locking and Unlocking Mutexes
  7. Condition Variables
    1. Condition Variables Overview
    2. Creating and Destroying Condition Variables
    3. Waiting and Signaling on Condition Variables
  8. LLNL Specific Information and Recommendations
  9. Topics Not Covered
  10. Pthread Library Routines Reference
  11. References and More Information
  12. Exercise

แหล่งตีพิมพ์วารสารวิชาการและไทย

เกณฑ์คุณภาพวารสาร

เทศกาลลิงลพบุรี

Lopburi Monkey Festival  ที่ช่อง NationalGeographic

15 พฤศจิกายน 2553

Pan/Tilt เสีย

สาเหตุที่เสีย

     มีตัวเก็บประจุหลุดออกมาจากแผงวงจร ซึ่งน่าจะมาจากการประกอบชิ้นงานที่ไม่ดี

แล้วขาตัวเก็บประจุที่หลุด ไปลัดวงจรขึ้น

วิธีการแก้ไข

1. หา Controller ตัวอื่นมาใช้งาน เช่น EPOS

Capture2

2. หาPan/Tilt ใหม่เลยเช่นของ Servo City

Capture1

3. ใช้แขนกลของพี่ต้อม แต่ใช้แค่ 2 DOF

4. สร้างใหม่เลยเพราะอยากได้คุณสมบุติการ Control แบบ Speed Control มีรูตรงกลางขนาดใหญ่พอที่จะร้อยสายโปรเจ็คเตอร์ได้

เว็บซื้อ Pan/tilt

http://www.robotshop.ca
http://www.servocity.com/

05 พฤศจิกายน 2553

เลือกหลอดอินฟราเรดสำหรับกระดานฉายที่เอียงได้มากขึ้น

คุณสมบัติหลอดอินฟราเรดที่ตามหาเรียงตามลำดับความสำคัญ

1. มีแสงสว่างออกมาทุกทิศทุกทางคล้ายเทียนไข เพื่อให้ wiimote สามารถตรวจจับได้แม้มีการเอียง

2. มีแสงสว่างมาก สามารถตรวจจับด้วย wiimote ได้

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองที่ 1

IMAG0194

1.หลอดอินฟราเรดแบบ ไม่ทราบ FOV ความสว่างทั่วไป (แบบที่หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด)

2. หลอดอินฟราเรดแบบ FOV 60 องศา ความสว่างสูง (แบบสว่างกว้าง)

3. หลอดอินฟราเรดแบบ FOV 30 องศา ความสว่างสูง (แบบสว่างไกล)

ผลการทดลองเมื่อทำการเอียงเป็นกระดาษกับมุมกล้องของ wiimote

จากการอ่านค่าwiimote  หลอดที่สามารเอียงได้มากที่สุดคือ หลอดอินฟราเรดที่ไม่ทราบ FOV หลอด

อินฟราเรดแบบ FOV 60 องศา และ หลอดอินฟราเรดแบบ FOV 30 องศา ตามลำดับ

วิเคราะห์และสิ่งที่ต้องทำต่อไป

หลอดอินฟราเรดแบบ สว่างมาก ไม่ได้ช่วยให้wiimote สามารถ Track ได้ดีขึ้น

ต้องหาทางทำให้แสงจากหลอดอินฟราเรดกระจายตัวในวงกว้างต่อไป

ซึ่งอาจจำเป็นต้องเพิ่มตัวกระจายแสง หรืออาจต้องทำลายเลนส์ของหลอด

เพื่อลดการรวมแสงที่มุมใดมุมหนึ่ง

 

01 พฤศจิกายน 2553

การทดสอบ Passive Marker สำหรับ Wiimote

Marker ที่นำมาทดสอบมี 2 ชนิดคือ

1. ลูกปัดสีเงิน วัสดุเป็นพลาสติก ชุบเคลือบสีเงินสะท้อนแสง

2. หมุดโลหะหัวรูปโดม(เป็ก) วัสดุเป็นโลหะมันวาว สะท้อนแสงได้ในตัว หัวเป็นโดมคล้ายครึ่งวง

กลม สามารถสะท้อนแสงได้หลายทิศทาง

ในการทดสอบนี้ใช้แสงจาก 2 แหล่งคือโปรเจคเตอร์ และแผงไฟหลอดอินฟราเรด

ผลการทดสอบกับโปรเจคเตอร์

ผลการทดสอบกับหลอดไฟอินฟราเรด

สรุป Passive Marker ทำงานได้เฉพาะบริเวณใกล้ๆแหล่งกำเนิดแสง ซึ่งมี Workspace ไม่เพียงพอ